T_T เก๊าท์มาแล้ววว….

โรคเก๊าท์ (GOUT) เป็นหนึ่งในโรคข้ออักเสบ ซึ่งอาจเป็นโรคประจำตัวของใครหลายๆ คน โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการเก๊าท์มาแล้ว.. เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีสารพูรีนสูง มักพบอาการเก๊าท์ ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง หากประวัติครอบครัวโดยสายเลือดมีอาการเก๊าท์ รุ่นลูกและรุ่นหลาน ก็จะมีปัจจัยเสี่ยงสูงขึ้นว่าจะเป็นเก๊าท์ได้ค่ะ.เก๊าท์โดยส่วนใหญ่มักเกิดบริเวณข้อที่ที่มีการลงน้ำหนักบ่อยๆ เช่น ข้อเข่า, โคนหัวนิ้วโป้งเท้า เป็นต้น สามารถเกิดได้ทุกเพศทุกวัย เมื่อเกิดอาการข้อบวมไม่ทราบสาเหตุ ร่วมกับไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ตามปกติ ควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจประเมินวินิจฉัย โดยผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเกิดโรคเก๊าท์ มักตรวจพบระดับกรดยูริกในเลือดสูงค่ะ วิธีการรักษาก็คือให้ยาลดระดับกรดยูริกในเลือด ร่วมกับยาบรรเทาอาการปวด.โดยวิธีการดูแลตนเองแบบไม่ใช้ยา คือ1. ลดกลุ่มอาหารทะเล, หอย, เครื่องในสัตว์2. อาหารหรือเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของยีสต์ ได้แก่…

ใครเสี่ยงกระดูกพรุนกันบ้าง?

🦴 ภาวะกระดูกพรุน (Osteoporosis)             จากข้อมูลเกี่ยวกับการสูบบุหรี่เป็นประจำ ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงภาวะ หรือโรคกระดูกพรุน วันนี้แอดมินจึงขอนำเสนอเกี่ยวกับ "โรคกระดูกพรุน" ให้ทราบกันว่า ใครบ้างที่เป็นผู้มีความเสี่ยงกลุ่มโรคเหล่านี้กันนะคะ .ผู้ที่มีความเสี่ยงได้แก่1. ผู้หญิง มากกว่า ผู้ชาย2. ผู้ที่มีอายุมากกว่า 65 ปี ขึ้นไป3. ผู้ที่สูบบุหรี่ เป็นประจำ4. ผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ หรือ ดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาฟาอีนเกินขนาน เป็นประจำ5. ผู้ที่มีกิจวัตรประจำวันน้อย…

สูบบุหรี่เป็นประจำ เสี่ยงปวดข้อ

🚭 รู้หรือไม่? การสูบบุหรี่เป็นประจำ อาจทำให้เสี่ยงต่อภาวะกระดูกพรุน ปวดข้อต่อได้ง่าย . สวัสดีค่า วันนี้เราจะมาบอกปัจจัยเสี่ยงเกี่ยวกับกระดูกและข้อต่อให้ แฟนเพจตั้งใจรักษ์ คลินิกกายภาพบำบัด รับชมกันนะคะ . หลายๆ ท่านคงเคยอ่านข้อมูลผ่านบนอินเตอร์เน็ตว่า บุหรี่ เป็นปัจจัยเสี่ยงของหลายกลุ่มโรคด้วยกัน โดยเราจะเคยพบเห็นบ่อยๆ ในกลุ่มโรคทางเดินหายใจ กลุ่มโรคเกี่ยวกับระบบไหลเวียนเลือด และกลุ่มโรคเกี่ยวกับทันตกรรมใช่ไหมคะ . แต่อีกกลุ่มโรคหนึ่งที่เราพบเห็นได้บ่อยๆ เช่นกันคือ เรื่องของบุหรี่ค่ะ โดยจากงานวิจัยระบุไว้ว่าสารนิโคตินที่มากับการสูบบุหรี่ ส่งผลทำให้เกิดการดูดซึมของแคลเซียมไปที่กระดูกลดลง หากสูบต่อเนื่องเป็นประจำ อาจทำให้เสี่ยงต่อภาวะกระดูกพรุน ปวดข้อต่อ หรือเสี่ยงต่อการล้มบาดเจ็บกระดูกเปราะหักง่ายได้ค่ะ…

End of content

No more pages to load